วารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) นำเสนอจำนวน 8 บทความ ดังนี้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตแก๊สชีวภาพเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ตำบลเกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง การใช้สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือสำหรับการจัดการทรัพยากร ชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว กรณีศึกษา ชุมชนบ้านกองกาน จังหวัดเชียงใหม่ การบูรณาการการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชน ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงการการคั... >> อ่านต่อ
วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2561 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนจัดการประชุมกองบรรณาธิการวารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ครั้งที่ 1/2561 โดยได้รับเกียรติจาก อาจารย์ภฤศพงศ์ เพชรบุล ผู้อำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน เป็นประธานในการประชุม และมีกองบรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิประจำวารสารฯ จากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุมกาสะลอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (ดอยสะเก็ด) ในวาระการประชุมคณะทำงานได้แจ้งให้ที่ประชุมทราบเกี่ยวกับวัตถุประสงค์... >> อ่านต่อ
วารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561) นำเสนอจำนวน 8 บทความ ดังนี้ ต้นแบบสถานีตรวจวัดฝุ่นละอองลอยในอากาศแบบออนไลน์ต้นทุนต่ำ การพัฒนาหัวเจาะเสริมเล็บคาร์ไบด์สำหรับเหมืองถ่านหินลิกไนต์ การถ่ายทอดความรู้เชิงนวัตกรรมแบบมีส่วนร่วม: หัตถกรรมผ้าทอจก บ้านแม่ขี้มูก ตำบลบ้านทับ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ การประเมินปัจจัยความสำเร็จ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่... >> อ่านต่อ
วารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2559) นำเสนอจำนวน 8 บทความ ดังนี้ การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการจัดการการใช้ประโยชน์ทรัพยากรกั้งตั๊กแตนในจังหวัดตรัง การบริการวิชาการเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องแหวกร่องต้นข้าวเพื่อเกษตรกร รูปแบบการพัฒนาน้าข้าวกล้องผสมสมุนไพร โดยวิธีการบูรณาการการจัดการความรู้ ในศตวรรษที่ 21 สู่ชุมชน ของนักวิจัยปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม กลุ่มภาคกลาง การนาระบบสารสนเทศที่เหมาะสมไปใช้ใ... >> อ่านต่อ
วารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2559) นำเสนอจำนวน 8 บทความ ดังนี้ นมเปรี้ยวพร้อมดื่มจากนมแพะ บทเรียน เพื่อเรียนรู้ สู่กระบวนการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน กรณีศึกษา บ้านนาเชือก จังหวัดสกลนคร การออกแบบและสร้างระบบจ่ายน้าหยดอัตโนมัติส้าหรับสวนสมุนไพร จากพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อชุมชน การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์น้าพริกเครื่องแกง การเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนพลังงานของโรงงานสหกรณ์กองทุนสวนยาง >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา